วันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554

Capsule Hotels in Japan











Build it Bigger - Singapore SkyPark


Language : Thai 


OR

Model-Based Control of Logistics Processes in Volatile Environments: Decision Support for Operations Planning in Supply Consortia



Model-Based Control of Logistics Processes in Volatile Environments: Decision Support for Operations Planning in Supply Consortia (Operations Research/Computer Science Interfaces Series)
Jörn Schönberger | Springer | 2011-05-13 | 193 pages | English | PDF


Product Description
This monograph presents results originating from a research project investigating autonomous adaptation of vehicle schedules and systematically develops and evaluates innovative ideas for the management of transportation processes in volatile scenarios. Showing the progress made in the development of the methodological toolbox for decision support in dynamic process management is the major motivation behind this book.  The result is a new integrated approach to dynamic decision making.
Existing process planning approaches for volatile environments and their application boundaries are investigated in Part I. Part II introduces the concept of feedback-controlled adaptive decision models and proposes the required extensions of the online decision making framework and of multi-agent systems. A comprehensive evaluation of the proposed decision model adaptation framework based on computational simulation experiments is reported in Part III and demonstrates the predominance of the new approach.
Distinguishing features of this book are:
-It provides the first contribution to the operational management of processes in supply networks that explicitly addresses the two challenges of dynamics and distributed decision making simultaneously.
-It systematically approaches the limits of model-based process planning but also proposes methods to extend the application boundaries.
-Software prototypes are developed and a comprehensive evaluation within numerical simulation experiments is executed.
-The observed results are discussed with an explicit focus on specific performance indicators (flexibility, stability and robustness).
-The strict interdisciplinary approach merging the requirements and needs of management sciences, operations research and computer sciences is pursued throughout the book.
From the Back Cover
This monograph presents results originating from a research project investigating autonomous adaptation of vehicle schedules and systematically develops and evaluates innovative ideas for the management of transportation processes in volatile scenarios. Showing the progress made in the development of the methodological toolbox for decision support in dynamic process management is the major motivation behind this book.  The result is a new integrated approach to dynamic decision making.
Existing process planning approaches for volatile environments and their application boundaries are investigated in Part I. Part II introduces the concept of feedback-controlled adaptive decision models and proposes the required extensions of the online decision making framework and of multi-agent systems. A comprehensive evaluation of the proposed decision model adaptation framework based on computational simulation experiments is reported in Part III and demonstrates the predominance of the new approach.
Distinguishing features of this book are:
-It provides the first contribution to the operational management of processes in supply networks that explicitly addresses the two challenges of dynamics and distributed decision making simultaneously.
-It systematically approaches the limits of model-based process planning but also proposes methods to extend the application boundaries.
-Software prototypes are developed and a comprehensive evaluation within numerical simulation experiments is executed.
-The observed results are discussed with an explicit focus on specific performance indicators (flexibility, stability and robustness).
-The strict interdisciplinary approach merging the requirements and needs of management sciences, operations research and computer sciences is pursued throughout the book.




or


e-Express สำหรับการนำเข้า-ส่งออก…


e-Express สำหรับการนำเข้า-ส่งออก
สินค้าเร่งด่วนแบบไร้เอกสาร
ธนัท สุวัธนเมธากุล  ผู้อำนวยการสำนักงานศุลกากรตรวจสินค้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ กรมศุลกากร

กรมศุลกากรให้ความสำคัญกับการอำนวยความสะดวกทางการค้า เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน จึงได้มอบหมายให้สำนักงานศุลกากรตรวจสินค้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิพัฒนานวัต กรรมการให้บริการทางศุลกากรสำหรับการนำเข้า-ส่งออกสินค้าเร่งด่วน (Express Consignments) ภายใต้โครงการ e-Express สำหรับการนำเข้า-ส่งออกสินค้าเร่งด่วนแบบไร้เอกสาร
การให้บริการในการนำเข้า-ส่งออกสินค้าเร่งด่วน (Express Consignments) เป็น การให้บริการ ฝากส่งสินค้าซึ่งดำเนินการโดยผู้ประกอบการของเร่งด่วน เพื่อนำสินค้าไปให้ถึงมือผู้รับปลายทางโดยเร็วที่สุด ตามวัน เวลาที่กำหนดในลักษณะ Door-to-Door การให้บริการในลักษณะเช่นนี้เปรียบเสมือนการส่งของทางพัสดุเร่งด่วน EMS ของบริษัท ไปรษณีย์ไทย จำกัด แต่ต่างกันที่เป็นการดำเนินการโดยผู้ประกอบการภาคเอกชนที่ทำหน้าที่เป็นตัว แทนออกของ (Customs Broker) ในการปฏิบัติพิธีการศุลกากรให้ทั้งขาเข้าและขาออกให้กับผู้ฝากส่งด้วย
เดิมการปฏิบัติพิธีการศุลกากรสำหรับของเร่งด่วนใช้ระบบเอกสาร (Manual) ซึ่งต้องมีการจัดทำใบขนสินค้าในรูปแบบเอกสาร โดยไม่มีการจัดเก็บข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้การค้นหาและตรวจสอบข้อมูลไม่สะดวกรวมทั้ง การพัฒนาฐานข้อมูลของระบบงานสินค้าเร่งด่วนของผู้ประกอบการแต่ละรายต่างออก แบบและพัฒนาระบบของตนเอง ทำให้ขาดความเป็นเอกภาพและความมีมาตรฐาน ส่งผลให้การตรวจสอบข้อมูลต่างๆ ไม่สามารถกระทำได้โดยสะดวก รวดเร็ว จึงก่อให้เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา ไม่ว่าจะเป็นการเชื่อมโยงข้อมูล  การนำระบบบริหารความเสี่ยง (Risk Management) มาใช้เพื่อการควบคุมทางศุลกากรให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ  การขาดความเป็นมาตรฐานและความน่าเชื่อถือ ทำให้เกิดปัญหาการร้องเรียนในการปฏิบัติงานได้ง่าย อีกทั้งส่งผลให้ต้นทุนในการผลิตสูงขึ้น ความสามารถทางการแข่งขันลดลง รวมทั้งไม่สามารถสนับสนุนให้บรรลุวิสัยทัศน์ของกรมศุลกากร ในการเป็นศุลกากรมาตรฐานโลก (World-Class Customs) ได้
สำนักงานศุลกากรตรวจสินค้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิจึงได้พัฒนานวัตกรรมการให้ บริการใหม่โดยนำระบบเล็กทรอนิกส์มาใช้ และจัดทำเป็นโครงการ e-Express สำหรับการนำเข้า-ส่งออกสินค้าเร่งด่วน แบบไร้เอกสาร เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งของระบบพิธีการศุลกากรรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Customs) โดยลดขั้นตอนและระยะเวลาการตรวจปล่อยสินค้าโดยพัฒนาระบบงานและวิธีการทำงาน ในรูปแบบใหม่ ดังนี้
Pre-arrival Manifestมีระบบการตรวจสอบข้อมูลล่วงหน้าเป็นรายเที่ยวบิน โดยต้องแจ้งข้อมูลการนำเข้า-ส่งออกของเร่งด่วนเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของ ศุลกากรไม่น้อยกว่า 2 ชั่วโมงก่อนเครื่องบินออก หรือก่อนเครื่องบินลง เพื่อให้มีการตรวจปล่อยสินค้าได้ทันทีที่ของมาถึง กรณีที่สินค้าไม่ติดเงื่อนไขความเสี่ยง
English Declarationการส่งข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้า-ขาออกสำหรับของเร่งด่วน สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพียงภาษาเดียว โดยไม่ต้องแปลเป็นภาษาไทย (การนำเข้า-ส่งออกในระบบ e-Customs ยังคงต้องสำแดงภาษาไทยและภาษาอังกฤษควบคู่กัน) ทั้งนี้เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ลดค่าใช้จ่ายในการส่งข้อมูลได้ประมาณกึ่งหนึ่ง ลดบุคลากรซึ่งต้องใช้ในการแปลภาษา นอกจากนี้ยังเป็นการรองรับโครงการระบบเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลและการบริการ ภาครัฐ เพื่อการนำเข้า ส่งออก และโลจิสติกส์ (National Single Window) ในอนาคต
Risk Management – ใช้ระบบบริหารความเสี่ยงในการเลือก ตรวจสอบสินค้าที่มีความเสี่ยงสูง (High Risk) ก่อนการปล่อยของ รวมถึงการเลือกตรวจสอบสินค้าเพิ่มเติมของเจ้าหน้าที่อีกครั้ง ทำให้กระบวนการตรวจปล่อยสินค้ารวดเร็ว และการจัดเก็บภาษีถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์
X-ray มีการนำระบบเอ็กซ์เรย์สินค้ามาใช้ในการตรวจ ปล่อย เพื่อช่วยลดเวลาในการตรวจสอบสินค้าทางกายภาพ (Physical Examination) แทนการเปิดตรวจสินค้า
Partial Clearance – มีระบบงานให้เจ้าหน้าที่สามารถบันทึกผลการตรวจปล่อยของบางส่วนได้ โดยสามารถตรวจปล่อยสินค้าที่ตรวจสอบแล้วถูกต้องไปก่อน ส่วนที่ไม่ถูกต้องจะส่งดำเนินคดี เมื่อคดีเสร็จสิ้นแล้วสามารถตรวจปล่อยเพิ่มเติมได้
e-Paymentเพิ่มช่องทางการชำระเงิน ผ่านระบบ e-Payment ทำให้ผู้ประกอบการของเร่งด่วนสามารถชำระค่าภาษีอากร ค่าธรรมเนียม ค่าล่วงเวลาได้สะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
Electronic Receiptเป็นการพัฒนารูปแบบใบเสร็จรับ เงินและการลงลายมือชื่อในในเสร็จ รับเงิน โดยระบบคอมพิวเตอร์ของศุลกากรจะสั่งพิมพ์ชื่อเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบลงในใบ เสร็จรับเงินโดยอัตโนมัติ แทนการลงลายมือชื่อ และควบคุมความปลอดภัย โดยใช้รหัสของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ทำให้การออกใบเสร็จรับเงินเป็นไปด้วยความถูกต้อง สะดวก รวดเร็ว
นอกจากนี้ ระบบ e-Express ได้เพิ่มคุณลักษณะใหม่ให้กับงานบริการเดิม โดยมีกระบวนการทำงานที่สร้างความพึงพอใจให้กับผู้ประกอบการของเร่งด่วน ที่สามารถตรวจปล่อยสินค้าเร่งด่วนได้ ที่เดียว ทั่วไทย ทันใด ทุกเวลา
ปัจจุบันมีผู้ประกอบการของเร่งด่วนจำนวน 14 ราย มีลูกค้าผู้ใช้บริการฝากส่งสินค้าประมาณ 6 – 7 หมื่นรายต่อปี โดยในปี 2553 ที่ผ่านมา มีปริมาณการนำเข้า-ส่งออก มากกว่า 10,000,000 Shipments แบ่งเป็นการนำเข้า 6,716,000 Air Waybills มีมูลค่าประมาณ 180,000 ล้านบาท มีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 12.5 ต่อปี และการส่งออกประมาณ 4,774,000 Air Waybills มีมูลค่าประมาณ 164,000 ล้านบาท อัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 8.34 ต่อปี โดยคาดว่าการใช้บริการจะมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น
จากการมุ่งมั่นพัฒนาระบบ e-Express สำหรับการนำเข้า-ส่งออกสินค้าเร่งด่วนแบบไร้เอกสาร ทำให้ได้รับรางวัลด้านนวัตกรรม ถึง 2 รางวัล คือ รางวัลคุณภาพการให้บริการประชาชน ได้รับรางวัลดีเด่น ประเภทรางวัลนวัตกรรมการให้บริการ จากนายกรัฐมนตรี ซึ่งจัดโดยสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2553 และรางวัลเพชรวายุภักษ์ ครั้งที่ 2 (MOF INNOVATION AWARDS 2010) ได้รับรางวัลชนะเลิศ ประเภทรางวัลระดับจังหวัด จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ซึ่งจัดโดยสำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2554