สื่อในการเผยแพร่ข่าวสารหรือข้อมูลที่เป็นประโยชน์ซึ่งกันและกันเพิ่มขึ้นทั้งตอนนี้และต่อไปนะ
วันศุกร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2554
การนำโลจิสติกส์มาประยุกต์ใช้กับการซื้อของใช้ในบ้าน
โดย วิญญู ปรอยกระโทก
อาจารย์ประจำคณะบริหารธุรกิจ
สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
อาจารย์ประจำคณะบริหารธุรกิจ
สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น
หลายคนเมื่อได้ยินคำว่าโลจิสติกส์ อาจเข้าใจว่าเป็นเรื่องไกลตัว ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกันตัวเองและไม่สนใจ แต่หากพิจารณาดีๆ แล้ว โลจิสติกส์แทบจะมีบทบาทในทุกๆ การการะทำในชีวิตประจำวันของคนเรา เริ่มตั้งแต่ตื่นเช้ามา การวางแผนการเดินทางไปโรงเรียน หรือไปทำงาน ตลอดจนการวางแผนการจัดเก็บจัดซื้อข้าวของเครื่องใช้ภายในบ้าน ทำอย่างไรให้ถึงที่หมายทันเวลาและประหยัดค่าใช้จ่ายมากที่สุด
วางแผนซื้อข้าวของเครื่องใช้เช่น สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก น้ำปลา น้ำตาล ข้าวสาร รวมถึงอาหารสดอย่างไรจึงจะเป็นการประหยัด ไม่สิ้นเปลืองเงินจากการที่ต้องเก็บตุนสิ่งของเหล่านั้น ยิ่งถ้าหากเป็นการซื้ออาหารสด จะซื้ออย่างไรให้เพียงพอต่อการนำไปใช้ทำอาหารโดยที่เหลือเป็นของเน่าเสียน้อยที่สุดด้วย ซึ่งเมื่อเราสามารถวางแผนดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันเหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั่นก็หมายถึงว่าเราได้ทำการบริหารจัดการโลจิสติกส์ในชีวิตประจำวันของเราได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประโยชน์จากการที่ประหยัดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันได้มากขึ้น หากท่านนำไปลงทุน หรือฝากไว้กับธนาคารเพื่อผลตอบแทนดอกเบี้ย ท่านก็จะยิ่งได้ประโยชน์เพิ่มมากยิ่งขึ้นด้วย
ก่อนที่จะเราทำการซื้อข้าวของเครื่องใช้เข้าบ้าน เราต้องมาการสำรวจสิ่งของเหล่านั้นก่อนมา สิ่งใดที่หมด หรือเหลือมากน้อยแค่ไหน และสิ่งใดที่มีความต้องการใหม่เพิ่มเข้ามา จากพฤติกรรมการใช้ หรือความต้องการของคนในบ้าน ซึ่งถ้าพูดในลักษณะของโลจิสติกส์ก็ คือความต้องการของลูกค้านั่นเอง
ความต้องการของคนในบ้านจะเป็นข้อมูลในการสั่งซื้อสินค้าเพื่อให้พ่อซึ่งเป็นฝ่ายจัดหา ไปหาซื้อเข้ามาในบ้าน ส่วนแม่เป็นคนจัดเก็บและแปรรูปของที่ซื้อมาเพื่อให้ส่งให้ตรงตามความต้องการและเกิดความพึงพอใจสูงสุดของคนในบ้าน
ต่อไปเราจะมาทำการบริหารจัดการโลจิสติกส์ โดยการ “หาระยะเวลาที่เหมาะสมในการซื้อของใช้ เข้าบ้าน”
ปัจจุบัน : การซื้อของใช้เข้าบ้านจะไม่ได้มีการบริหารเวลา ของหมดก็ค่อยหาซื้อ ทำให้เกิดของขาดบางเวลา หรือเกิดของเน่าเสีย รกตู้เย็น ซึ่งส่งผลเกิดความสูญเสียและทำให้ต้องเสียค่าเดินทางที่มากขึ้น หรือต้องซื้อของที่แพงขึ้น เพราะต้องหาซื้อกะทันหัน
วางแผนซื้อข้าวของเครื่องใช้เช่น สบู่ ยาสีฟัน ผงซักฟอก น้ำปลา น้ำตาล ข้าวสาร รวมถึงอาหารสดอย่างไรจึงจะเป็นการประหยัด ไม่สิ้นเปลืองเงินจากการที่ต้องเก็บตุนสิ่งของเหล่านั้น ยิ่งถ้าหากเป็นการซื้ออาหารสด จะซื้ออย่างไรให้เพียงพอต่อการนำไปใช้ทำอาหารโดยที่เหลือเป็นของเน่าเสียน้อยที่สุดด้วย ซึ่งเมื่อเราสามารถวางแผนดำเนินกิจกรรมในชีวิตประจำวันเหล่านั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ นั่นก็หมายถึงว่าเราได้ทำการบริหารจัดการโลจิสติกส์ในชีวิตประจำวันของเราได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประโยชน์จากการที่ประหยัดค่าใช้จ่ายในชีวิตประจำวันได้มากขึ้น หากท่านนำไปลงทุน หรือฝากไว้กับธนาคารเพื่อผลตอบแทนดอกเบี้ย ท่านก็จะยิ่งได้ประโยชน์เพิ่มมากยิ่งขึ้นด้วย
ก่อนที่จะเราทำการซื้อข้าวของเครื่องใช้เข้าบ้าน เราต้องมาการสำรวจสิ่งของเหล่านั้นก่อนมา สิ่งใดที่หมด หรือเหลือมากน้อยแค่ไหน และสิ่งใดที่มีความต้องการใหม่เพิ่มเข้ามา จากพฤติกรรมการใช้ หรือความต้องการของคนในบ้าน ซึ่งถ้าพูดในลักษณะของโลจิสติกส์ก็ คือความต้องการของลูกค้านั่นเอง
ความต้องการของคนในบ้านจะเป็นข้อมูลในการสั่งซื้อสินค้าเพื่อให้พ่อซึ่งเป็นฝ่ายจัดหา ไปหาซื้อเข้ามาในบ้าน ส่วนแม่เป็นคนจัดเก็บและแปรรูปของที่ซื้อมาเพื่อให้ส่งให้ตรงตามความต้องการและเกิดความพึงพอใจสูงสุดของคนในบ้าน
ต่อไปเราจะมาทำการบริหารจัดการโลจิสติกส์ โดยการ “หาระยะเวลาที่เหมาะสมในการซื้อของใช้ เข้าบ้าน”
ปัจจุบัน : การซื้อของใช้เข้าบ้านจะไม่ได้มีการบริหารเวลา ของหมดก็ค่อยหาซื้อ ทำให้เกิดของขาดบางเวลา หรือเกิดของเน่าเสีย รกตู้เย็น ซึ่งส่งผลเกิดความสูญเสียและทำให้ต้องเสียค่าเดินทางที่มากขึ้น หรือต้องซื้อของที่แพงขึ้น เพราะต้องหาซื้อกะทันหัน
ระยะเวลาการใช้สินค้า
ดังนั้น : อาหารสดจำพวกเนื้อสัตว์และผัก ควรซื้อทุก 2 สัปดาห์(เดือนละ 2 ครั้ง) ในจำนวนที่ระบุ เพื่อความสดใหม่ แต่สินค้าอื่นก็ทำการซื้อเดือนละ 1 ครั้ง คือ ซื้อในสัปดาห์แรกของเดือนพร้อมพวกของสดและไปซื้อของสดอีกครั้งในสัปดาห์ที่ 3 ของเดือน
การซื้อของ จะซื้อหลังจากเลิกงานของพ่อ เพราะต้องกลับรถเพื่อกลับบ้านหน้าฟู้ดแลนด์อยู่แล้ว หรือซื้อที่โลตัสเพราะเป็นห้างสรรพสินค้าที่ใกล้บ้านมากที่สุดและเป็นทางผ่านในการจะไปทำงานและทางผ่านไปเข้าเมือง เพื่อประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทางประโยชน์จากการบริการจัดการโลจิสติกส์ในการซื้อของใช้ในบ้าน
- ลดจำนวนครั้งในการเดินทางไปซื้อสินค้า ทำให้สามารถลดค่าใช้จ่ายในการเดินทาง
- ของเน่าเสีย หรือหมดอายุลดลง
- ประหยัดค่าใช้จ่ายเพราะซื้อของเท่าที่จำเป็นและไม่ต้องซื้อของที่ราคาแพงกว่าในกรณีฉุกเฉิน
- เพิ่มความพึงพอใจและสะดวกสบายให้คนในบ้าน เพราะได้ของที่ต้องการและมีใช้อย่างต่อเนื่อง
- สามารถนำเงินที่เหลือไปใช้ในสิ่งอื่นหรือเก็บออม
- ของเน่าเสีย หรือหมดอายุลดลง
- ประหยัดค่าใช้จ่ายเพราะซื้อของเท่าที่จำเป็นและไม่ต้องซื้อของที่ราคาแพงกว่าในกรณีฉุกเฉิน
- เพิ่มความพึงพอใจและสะดวกสบายให้คนในบ้าน เพราะได้ของที่ต้องการและมีใช้อย่างต่อเนื่อง
- สามารถนำเงินที่เหลือไปใช้ในสิ่งอื่นหรือเก็บออม
The Lean Six Sigma Guide to Doing More With Less
The Lean Six Sigma Guide to Doing More With Less: Cut Costs, Reduce Waste, and Lower Your OverheadWiley | 2010-02-08 | ISBN: 0470539577 | 327 pages | PDF | 13 MB
Create New Profits in Any Economy
In this difficult economic climate, it's vital to cut waste that can eat at a company's bottom line and boost efficiency at every organizational level. The traditional business solution in a crisis is to slash away non-critical talent and resources, often doing more harm than good. There is a far better systematic approach to doing more with less.
As a leading expert on Lean Six Sigma and business transformation, with a deep knowledge of its application in countless areas of business, author Mark George can help you use Lean Six Sigma to analyze your operational needs, identify high-impact opportunities, design and rapidly implement solutions, and create a system that will build efficiency and high performance in every area of your business. The Lean Six Sigma Guide to Doing More with Less can help you :
* Improve operating margins by as much as 20%, ROIC by as much as 10%, and reduce the costs of goods sold by as much as 5% or more
* Create "cost intelligence" that uncovers root causes allowing cost reductions without jeopardizing customer service levels and quality
* Use enterprise speed, agility, and flexibility to drive step-change reductions in cost and enable competitive advantage
* Identify and eliminate the costs of complexity in your business
* Supercharge your legacy Six Sigma program, improving speed to results, increasing project values, and shortening completion times
* Create "cost intelligence" that uncovers root causes allowing cost reductions without jeopardizing customer service levels and quality
* Use enterprise speed, agility, and flexibility to drive step-change reductions in cost and enable competitive advantage
* Identify and eliminate the costs of complexity in your business
* Supercharge your legacy Six Sigma program, improving speed to results, increasing project values, and shortening completion times
With case examples from a wide array of industry, encompassing decades of experience implementing Lean Six Sigma in every economic climate, in companies of every size, The Lean Six Sigma Guide to Doing More with Less will give your business an intelligent edge in lean times.
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)